โค้ดตัวอักษรวิ่ง ยินดีต้อนรับสู่บล็อกวิชาคณิตศาสตร์ ของ"นางสาววรรณภา บุญรอด"

วันอังคารที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ

กฎข้อที่ 1
        ถ้างานแรกมีวิธีทำได้ nวิธี ในแต่ละวิธีที่เลือกทำงานอย่างแรกมีวิธีที่จะทำงาน อย่าง 2 ได้ n2 วิธี และในแต่ละวิธีที่ทำงานอย่างแรกและอย่างที่สอง มีวิธีที่จะทำงานอย่างที่ 3 ได้ nวิธี จำนวนทั้งหมดที่จะเลือกวิธีทำงาน k อย่าง เท่ากับ  n1n2n3.....n วิธี

ตัวอย่างที่ 1
      การแต่งกายของดำรงหน่งชุดประกอบด้วย เสื้อ กางเกง และรองเท้าถ้าดำรง มีเสื้อ
5 ตัว กางเกง 3 ตัว และรองเท้า 2 คู่ ดำรงจะเลือกแต่งกายได้ต่างๆกิ่ชุด
วิธีทำ  การแต่งกายของดำรงประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นตอนที่ เลือกสวมกางเกงซึ่งเลือกได้ 3 วิธี และในแต่ละวิธีทำในขั้นตอนที่ 1
ยังสามารถเลือกทำงาน ในขั้นตอนที่ 2 คือ สวมเสื้อได้อีก 5 วิธีและในแต่ละวิธีที่เลือกทำงาน
ในขั้นตอนที่1 และ 2 ยังสามารถเลือกทำงาน  ในขั้นตอนที่ 3 คือ สวมรองเท้าได้อีก 2 วิธี
ดังนั้น  จำนวนวิธีทั้งหมดที่ทำกิจกรรมนี้เสร็จสิ้น
= 3 * 5 * 2 =  30  วิธี
          นั่นคือ ดำรงสามารถเลือกแต่งกายได้ 30 ชุด อ่านเพิ่มเติม

การประยุกต์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

รากที่ n ของจํานวนจริง

บทนิยาม  ให้  a, b เป็นจำนวนจริง  และ   n  เป็นจำนวนเต็มบวกที่มากกว่า  1
    b เป็นรากที่  n   ของ  a  ก็ต่อเมื่อ  bกำลัง n = a 

n เป็นจำนวนคู่
เป็นจำนวนคี่
1.  รากที่   n   ของ a จะหาค่าได้ ก็ต่อเมื่อ a ≥เท่านั้น
2.  ถ้า a = o แล้ว รากที่ ของ a = 03.  ถ้า a  > 0  แล้วรากที่ n ของ a  จะมี  2  จำนวน  จำนวนหนึ่งเป็นบวกและอีกจำนวนหนึ่งเป็นลบ
4.  ถ้า  a  <  0แล้ว  ไม่สามารถหารากที่ n ของ  ได้ในระบบจำนวนจริง
1.  รากที่ n ของ a จะหาค่าได้เสมอ สำหรับจำนวนจริง ทุกจำนวน
2.  ถ้า a = o แล้ว รากที่ ของ a = 03.  ถ้า  a >  0 แล้ว  รากที่ n  ของ จะมีเพียงจำนวนเดียว และเป็นจำนวนจริงบวก
4.  ถ้า a  <  0  แล้ว  รากที่ ของ a จะมีเพียงจำนวนเดียว  และเป็นจำนวนจริงลบ

ตัวอย่างที่  1      1) รากที่ 4 ของ 625 คือ   5 และ – 5

                        ทั้งนี้เพราะ    5 กำลัง 4 = 625 และ (-5) กำลัง4 =   625 อ่านเพิ่มเติม

เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนตรรกยะ

บทนิยาม   กำหนดให้  a เป็นจำนวนจริง  n  เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า  1
และ  รากที่ n ของ a  เป็นจำนวนจริง  จะได้ว่า ยกกำลัง1 ส่วน n = รากที่ aของ n
บทนิยาม   ให้ m ,n  เป็นจำนวนเต็มบวก ถ้า เป็นจำนวนจริงที่ไม่เท่ากับ 0
และ  หาค่า = a ยกกำลังลบ ส่วน n = 1ส่วนaยกกำลัง ส่วน n
บทนิยาม   ให้  a เป็นจำนวนจริง
และ  n  เป็นจำนวนเต็มที่  n >  o  และ  ส่วน n  เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ  จะได้ว่า
a ยกกำลัง m ส่วน n =   a ยกกำลัง 1 ส่วน ยกกำลัง m = รากที่ ของ a ยกกำลัง m อ่านเพิ่มเติม